วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

การจัดขบวนขันหมากไทย

ฝ่ายเจ้าบ่าว ตั้งขบวน สถานที่ไหนก็กะระยะให้เหมาะแล้วกันค่ะ เอาให้เดินกันพอเหงื่อซึมเล็กน้อย อย่าให้ขนาดเดินกันน่องโป่งเลยค่ะ แล้วแห่ขบวนมายังบ้านเจ้าสาวโดยมี......ลำดับการตั้งขบวนดังนี้



เจ้าบ่าว...

ถือพานดอกไม้ธูปเทียน

เฒ่าแก่ (ผู้ใหญ่ตัวแทนเจ้าบ่าว)...

ต้นกล้วย ต้นอ้อย

ขันหมากเอก (ญาติผู้ใหญ่ถือ)....

คู่พานขันหมากพลู

คู่พานขันหมาสินสอด

พานแหวนหมั้น พานธูปเทียน

ขันหมากโท....

พานไก่ต้ม พานหมูนอนตอง

คู่พานวุ้นเส้น

คู่พาน กล้วยน้ำว้า-ส้ม

คู่พานขนมเสน่ห์จันทร์

คู่พานทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมทองเอก

ขบวนรำ



นั่น หมายถึงข้างบนนี้ คือว่า ตอนตั้งขบวน ก็คือว่า พานไหน เดินคู่พานไหน ต่อจากพานไหน ก็ตามข้างบนเลยค่ะ ระบบการเดินน่ะค่ะ ยกตัวอย่างเช่น เฒ่าแก่ จะถือ ต้นกล้วยและต้นอ้อย เดินคู่กันและตามหลังเจ้าบ่าวที่ถือ พานดอกไม้และธูปเทียน เป็นต้น


ปรึกษา การแต่งงานแบบไทยๆ ที่นี้ เรือนนายไท

วันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

วันมงคล

ปฏิทินจีน ฤกษ์ดี วันมงคล รายเดือน พ.ศ. 53  2553 / 2010

เกี่ยวกับปฏิทินจีน ปัจจุบันเรามีแจกแบบรวม 12 เดือน และ แนะนำการอ่านแบบรายวัน ขอให้อ่านเพิ่มเติมจากลิงค์ข้างบน หรือ คลิกที่รูปภาพข้างบน
 
วันมงคล วันดี เดือนเมษายน  พ.ศ. 2553 / 2010

วันเทียงเต็ก 12 / 22


วันง่วยเต็ก 4 / 12 / 22

วันผู้อุปถัมภ์ 3 / 9 / 15 / 21 / 27

วันร่ำรวย 13 / 25

ฤกษ์ออกรถ 1 / 10 / 22

วันห้ามเยี่ยมไข้ 2 / 22

วันอสูรภัย 14 / 26




วันมงคล วันดี เดือนมีนาคม  พ.ศ. 2553 / 2010


วันง่วยเต็ก 15 / 25

วันผู้อุปถัมภ์ 4 / 10 / 16 / 22 / 28

วันร่ำรวย 2 / 17 / 29

ฤกษ์ออกรถ 8 / 20

วันห้ามเยี่ยมไข้ 5 / 6 / 21 / 30

วันอสูรภัย 3 / 12 / 24



วันมงคล วันดี เดือนกุมภาพันธ์  พ.ศ. 2553 / 2010


วันเทียงเต็ก 6 / 16 / 26

วันง่วยเต็ก 5 / 15 / 25

วันผู้อุปถัมภ์ 3 / 8 / 14 / 20 / 26

วันร่ำรวย 3 / 6 / 18

ฤกษ์ออกรถ 15 / 27

วันห้ามเยี่ยมไข้ 1 / 21

วันอสูรภัย 7 / 19

วันมงคล วันดี เดือน มกราคม พ.ศ. 2553 / 2010

วันเทียงเต็ก 10 / 20 /30


วันง่วยเต็ก 2 / 10 / 20 / 30

วันผู้อุปถัมภ์ 2 / 10 /14 / 22 / 26

วันร่ำรวย 10 / 22

ฤกษ์ออกรถ 4 / 13 / 25

วันห้ามเยี่ยมไข้ 4 / 5 / 20 / 29

วันอสูรภัย 17 / 29

วันมงคล วันดี เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 / 2009

วันเทียงเต็ก 6 / 10 / 20 / 30


วันง่วยเต็ก 5 / 13 / 23

วันผู้อุปถัมภ์ 5 / 9 /17/ 21 / 29

วันร่ำรวย 14 / 26

ฤกษ์ออกรถ 2 / 11 /23

วันห้ามเยี่ยมไข้ 3 / 23

วันอสูรภัย 6 / 15 / 27

 
วันมงคล วันดี เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 / 2009

วันเทียงเต็ก 7 / 16 / 26


วันง่วยเต็ก 7 / 15 / 25

วันผู้อุปถัมภ์ 3 / 11 / 15 / 23 / 27

วันร่ำรวย 2 / 17 / 29

ฤกษ์ออกรถ 8 / 20

วันห้ามเยี่ยมไข้ 5 / 6 / 21 / 30

วันอสูรภัย 3 / 12 / 24
 
วันมงคล วันดี เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2552 / 2009

วันเทียงเต็ก 18 / 28


วันง่วยเต็ก 2 / 18 / 28

วันผู้อุปถัมภ์ 6 / 10 / 18 / 22 / 30

วันร่ำรวย 6 / 9 / 21

ฤกษ์ออกรถ 18 / 30

วันห้ามเยี่ยมไข้ 1 / 4 / 24

วันอสูรภัย 1 / 10 / 22
 
วันมงคล วันดี เดือน กันยายน พ.ศ. 2552 / 2009

วันเทียงเต็ก 5


วันง่วยเต็ก 4 / 12 /22

วันผู้อุปถัมภ์ 4 / 12 / 16 / 24 / 28

วันร่ำรวย 12 / 24

ฤกษ์ออกรถ 6 / 15 / 27

วันห้ามเยี่ยมไข้ 6 / 7 / 22

วันอสูรภัย 19
 
วันมงคล วันดี เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2552 / 2009

วันเทียงเต็ก 7 / 16 / 26


วันง่วยเต็ก 7 / 15 / 25

วันผู้อุปถัมภ์ 7 / 11 / 19 / 23 / 31

วันร่ำรวย 1 / 16 / 28

ฤกษ์ออกรถ 4 / 13 / 25

วันห้ามเยี่ยมไข้ 2 / 5 / 25

วันอสูรภัย 17 / 29

วันมงคล วันดี เดือน กรกฎาคม  พ.ศ. 2552 / 2009 


วันเทียงเต็ก   8 / 18 / 28

วันง่วยเต็ก     8 / 18 / 28

วันผู้อุปถัมภ์    2 / 6 / 14 / 18 / 26 / 30

วันร่ำรวย        5 / 8 / 20

ฤกษ์ออกรถ    2 / 11 / 23


วันห้ามเยี่ยมไข้  8 / 9 / 24

วันอสูรภัย       6 / 15 / 27

 

วันมงคล วันดี เดือน มิถุนายน  พ.ศ. 2552 / 2009 

วันเทียงเต็ก   5


วันง่วยเต็ก     4 / 10 / 20 / 30

วันผู้อุปถัมภ์    8 / 12 / 20 / 24

วันร่ำรวย        11 / 23

ฤกษ์ออกรถ    8 / 20

วันห้ามเยี่ยมไข้  3 / 6 / 26


วันอสูรภัย       3 / 12 / 24

วันมงคล วันดี เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2552 / 2009 

วันเทียงเต็ก   6 / 16 / 26

วันง่วยเต็ก    15 / 25

วันผู้อุปถัมภ์    3 / 7 / 15 / 19 / 27 / 31


วันร่ำรวย        15 / 27

ฤกษ์ออกรถ    6 / 18 / 30

วันห้ามเยี่ยมไข้  9 / 10 / 25

วันอสูรภัย       1 / 10 / 22

วันมงคล วันดี เดือน เมษายน พ.ศ. 2552 / 2009


วันเทียงเต็ก   7 / 17 / 27

วันง่วยเต็ก     7 / 17 / 27

วันผู้อุปถัมภ์    1 / 9 / 13 / 21 / 25

วันร่ำรวย        3 / 6 / 18 / 30

ฤกษ์ออกรถ    15 / 27


วันห้ามเยี่ยมไข้  4 / 7 / 27

วันอสูรภัย       7 / 19

วันมงคล วันดี เดือน มีนาคม พ.ศ. 2552 / 2009 

วันเทียงเต็ก   3

วันง่วยเต็ก    2 / 10 / 20 / 30


วันผู้อุปถัมภ์    4 / 8 / 16 / 20 / 28

วันร่ำรวย      10 / 22 

ฤกษ์ออกรถ    4 / 13 / 25

วันห้ามเยี่ยมไข้  10 / 11 / 26


วันอสูรภัย     17 / 29 

 

 

วันมงคล วันดี เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 / 2009

วันเทียงเต็ก   11 / 21

วันง่วยเต็ก     10 / 20


วันผู้อุปถัมภ์    1 / 8 / 12 / 20 / 24

วันร่ำรวย        11 / 23

ฤกษ์ออกรถ    8 / 20

วันห้ามเยี่ยมไข้  3 / 6 /26

วันอสูรภัย    3 / 12 / 24


 

วันมงคล วันดี เดือน มกราคม พ.ศ. 2552 / 2009

วันเทียงเต็ก   4 / 15 / 25

วันง่วยเต็ก     15 / 25

วันผู้อุปถัมภ์    2 / 8 / 14 / 20 /26

วันร่ำรวย        15 / 27


ฤกษ์ออกรถ    6 / 18 / 30

วันห้ามเยี่ยมไข้  9 / 10 / 25

วันอสูรภัย     1 / 10 / 22

วันมงคล วันดี เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2551

วันเทียงเต็ก   1 / 15 / 25


วันง่วยเต็ก     8 / 18 / 28

วันผู้อุปถัมภ์    3 / 9 / 15 / 21 / 27

วันร่ำรวย        4 / 7 / 19 / 31

ฤกษ์ออกรถ    16 / 28

วันห้ามเยี่ยมไข้  5 / 8 / 28


วันอสูรภัย     8 / 20

วันมงคล วันดี เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

วันเทียงเต็ก   2 / 11 / 21

วันง่วยเต็ก     2 / 10 / 20 / 30

วันผู้อุปถัมภ์    3 / 9 / 15 / 21 / 27


วันร่ำรวย        10 / 22

ฤกษ์ออกรถ    4 / 13 / 25

วันห้ามเยี่ยมไข้  10 / 11 / 26

วันอสูรภัย     17/ 29

วันมงคล วันดี เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2551


วันเทียงเต็ก   13 / 23

วันง่วยเต็ก     7 / 13 / 23

วันผู้อุปถัมภ์    4 / 10 / 16 / 22 / 28

วันร่ำรวย        14 / 26

ฤกษ์ออกรถ    2 / 11 / 23


วันห้ามเยี่ยมไข้  6 / 9 / 29

วันอสูรภัย     6 / 15 / 27

วันมงคล วันดี เดือน กันยายน พ.ศ. 2551



วันง่วยเต็ก      7 / 17 / 27

วันผู้อุปถัมภ์    4 / 10 / 16 / 22 / 28


วันร่ำรวย        2 / 17 / 29

ฤกษ์ออกรถ    8 / 20

วันห้ามเยี่ยมไข้  11 / 12 / 27

วันอสูรภัย       3 / 12 / 24

วันมงคล วันดี เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2551


วันเทียงเต็ก 2 / 11 / 21 / 31

วันง่วยเต็ก  2 / 10 / 20 / 30

วันผู้อุปถัมภ์  5 / 11 / 17 / 23 / 29 

วันร่ำรวย   6 / 9 /21

ฤกษ์ออกรถ    18 /30


วันห้ามเยี่ยมไข้  7 / 10 / 30

วันอสูรภัย    1 / 10 / 22

 
วันมงคล วันดี เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551

วันเทียงเต็ก 13 / 23

วันง่วยเต็ก  5 / 13 / 23


วันผู้อุปถัมภ์  6 / 12 / 18 / 24 / 30 

วันร่ำรวย   13 / 25

ฤกษ์ออกรถ  16 / 28 

วันห้ามเยี่ยมไข้  1 / 13 / 14 / 29


วันอสูรภัย  8 / 20
 
 
 
 
วันมงคล วันดี เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2551

วันเทียงเต็ก  0

วันง่วยเต็ก  15 / 25


วันผู้อุปถัมภ์  6 / 12 / 18 / 24 / 30 

วันร่ำรวย   1 / 16 / 28

ฤกษ์ออกรถ    4 / 13 / 25

วันห้ามเยี่ยมไข้  8 / 11


วันอสูรภัย    17 / 29
 
 
 
วันมงคล วันดี เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2551

วันเทียงเต็ก 2 / 11 / 21 / 31

วันง่วยเต็ก  2 / 10 / 20 / 30

วันผู้อุปถัมภ์   1 / 7 / 13 / 19 / 25 / 31


วันร่ำรวย  5 / 8 /20

ฤกษ์ออกรถ   2 / 11 / 23

วันห้ามเยี่ยมไข้ 2 / 14 /15 /30

วันอสูรภัย   15 / 27
 
 
 

วันมงคล วันดี เดือน เมษายน พ.ศ. 2551

วันเทียงเต็ก 12 / 22

วันง่วยเต็ก  4 / 12 /22

วันผู้อุปถัมภ์   1 / 7 / 13 / 19 / 25

วันร่ำรวย  11 / 23

ฤกษ์ออกรถ   8 / 20


วันห้ามเยี่ยมไข้ 9 / 12

วันอสูรภัย   3 / 12 / 24
 
 
 
วันมงคล วันดี เดือน มีนาคม พ.ศ. 2551

วันง่วยเต็ก  15 / 25

วันผู้อุปถัมภ์   2 / 8 / 14 / 20 / 26


วันร่ำรวย  15 / 27

ฤกษ์ออกรถ 6 / 18 /30 

วันห้ามเยี่ยมไข้ 3 / 15 / 16 / 31

วันอสูรภัย   1 / 10 / 22

วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

การป้อนอาหารระหว่าง คู่บ่าว-สาว

นิยมนำมาในพิธี คือ
ไข่ขวัญ คือ เอาไข่ไก่ที่ฝ่ายชายจัดมา ป้อนให้ฝ่ายหญิงกินและเอาไข่ที่ฝ่ายหญิงจัดมา
ป้อนให้ฝ่ายชายกินเหมือนกัน ในความหมายคือ เพื่อให้รับประทานอาหารร่วมกันตลอดไป
ไม่แอบหนีไปรับประทานอาหารนอกบ้านกับคนอื่น

เรือนนายไท สถานที่รับจัดงานแต่งงาน พิธีการแต่งงานแบบไทยๆ ครบวงจร

วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

Marriage

Marriage is a social union or legal contract between individuals that creates kinship. It is an institution in which interpersonal relationships, usually intimate and sexual, are acknowledged in a variety of ways, depending on the culture or subculture in which it is found. Such a union may also be called matrimony, while the ceremony that marks its beginning is usually called a wedding.

People marry for many reasons, most often including one or more of the following: legal, social, emotional, economical, spiritual, and religious. These might include arranged marriages, family obligations, the legal establishment of a nuclear family unit, the legal protection of children and public declaration of love

วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

พิธีหลั่งน้ำพระพุทธมนต์

ครั้นถึงฤกษ์รดน้ำ เจ้าบ่าวกับเจ้าสาว ออกไปนั่งบนที่ซึ่งจัดไว้ ผู้ชายนั่งข้างขวามือของผู้หญิง เพื่อนเจ้าบ่าวและเจ้าสาวยืนอยู่ด้านหลังจะมีกี่คนก็ได้ แต่ว่าจะต้องเป็นจำนวนคู่ และควรที่จะหันหน้าไปในทิศที่เป็นมงคลแก่คู่บ่าวสาวด้วย แล้วผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในงาน สวมด้ายมงคลครอบศีรษะฝ่ายชายและหญิง แล้วเริ่มรดน้ำสังข์ แก่คู่บ่าวสาว พร้อมกับให้ศีลให้พร เสร็จแล้วแขกที่ได้รับเชิญมาในงาน ต่างก็ทยอยเข้ามารดน้ำ ตามลำดับ หมดจากแขกแล้ว ก็ถึงวงศ์ญาติ ครั้นหมดผู้รดน้ำเรียบร้อยแล้ว ผู้ใหญ่ก็จะปลดด้ายมงคลออก ถือเคล็ดกันว่า ถ้าปลดออกจากศีรษะฝ่ายชายก่อน ชายก็มีอำนาจเหนือฝ่ายหญิง ถ้าปลดออกจากศีรษะหญิงก่อน ก็ถือว่าต่อไปหญิงจะมีอำนาจมากกว่าชาย ในปัจจุบันนี้เจ้าภาพมักมีของแจกเล็ก ๆน้อย ๆ แก่แขกตามสมควร เป็นอันเสร็จพิธีรดน้ำเพียงเท่านี้

วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

ประวัติวันวาเลนไทน์

กำเนิดวันวาเลนไทน์ เทศกาลวาเลนไทน์ เริ่มมีขึ้นตั้งแต่ยุคที่จักรวรรดิโรมันเรืองอำนาจ ในยุคนั้น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ของทุกปี ถูกจัดให้เป็นวันหยุด เพื่อเป็นเกียรติแต่เทพเจ้าจูโน่ผู้เป็นจักรพรรดินีแห่งเทพเจ้าโรมัน นอกจากนี้แล้วพระองค์ยังทรงเป็นเทพเจ้าแห่งอิสตรีเพศและการแต่งงาน และในวันถัดมา คือวันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันเริ่มต้นเทศกาลเฉลิมฉลองแห่งลูเพอร์คาร์เลีย การดำเนินชีวิตของหนุ่มสาวจะถูกตัดขาดออกจากกันอย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม มีขนบธรรมเนียมอย่างหนึ่งของชายหนุ่มก็คือ การจับฉลาก ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ก่อนที่จะเริ่มต้นเทศกาลลูเพอร์คาร์เลีย ชื่อของเด็กสาวจะถูกเขียนลงในเศษกระดาษและใส่ลงในไห ชายหนุ่มแต่ละคนจะจับฉลากเพื่อเลือกคู่ในเทศกาลเฉลิมฉลองนี้ บ่อยครั้งที่หนุ่มสาวต่างถูกใจกัน และแต่งงานกันในเวลาต่อมา
ในรัชสมัยของจักรพรรดิคลอดิอัสที่ 2 แห่งโรม พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ที่มีใจคอดุร้าย และทรงนิยมการทำสงครามนองเลือด ได้ทรงตระหนักว่าเหตุที่ชายหนุ่มส่วนมากไม่ประสงค์จะเข้าร่วมในกองทัพ เนื่องมาจาก ไม่อยากจากคู่รัก และครอบครัวไป จึงทรงมีพระราชโองการสั่งห้ามมิให้มีการจัดพิธีหมั้นและแต่งงานกันในโรมโดยเด็ดขาด ทำให้ประชาชนทุกข์ใจเป็นอย่างยิ่ง ขณะนั้นเอง พระรูปหนึ่งนามว่า เซนต์วาเลนไทน์ซึ่งอาศัยอยู่ในโทรม ได้ร่วมมือกับเซนต์มาริอัส จัดพิธีแต่งงานให้กับชาวคริสต์หลายคู่ และด้วยความปรารถนาดีของท่านนี้เอง จึงทำให้ท่านถูกตัดสินประหารชีวิตโดยเจ้าหน้าที่บ้านเมือง ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ.270 ซึ่งตรงกับเทศกาลลูเพอร์คาร์เลีย ตามประเพณีโบราณพอดี ณ โอกาสนี้เอง กลุ่มคนนอกศาสนาได้รื้อฟื้นประเพณีจับฉลากขึ้นมาใหม่ โดยชายหนุ่มจะเป็นผู้เขียนชื่อหญิงสาวลงไปด้วยตัวเอง ต่อมาพระในนิกายโรมันคาทอลิกจึงเลือกให้วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันเฉลิมฉลองเทศกาลแห่งความรัก และดูเหมือนว่ายังคงเป็นธรรมเนียม ที่ชายหนุ่มจะเลือกหญิงสาวที่ตนเองพึงใจในวันวาเลนไทน์ สืบต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้

วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

พิธีแห่ขันหมาก

ฝ่ายชายจะทำหน้าที่เตรียมขันหมากหมั้น ซึ่งประกอบด้วย
  • พานขันหมาก ประกอบด้วยหมาก 8 ผล เลือกให้อยู่ในพวงเดียวกัน หรือเลือกแบบ 2 ผล ให้อยู่ในก้านเดียวกัน 4 ก้านก็ได้ ฝานก้นหมากทาชาดให้เรียบร้อย เรียงใบพลูที่ทาชาดและตัดก้านเสมอกันแล้วเรียง เรียงละ 8 ใบ และจัดให้เหมือนกัน 2 พาน
  • พานขันหมั้น หา ขันที่ใหญ่กว่าขันหมากเล็กน้อย แบ่งเป็นขันสินสอดหนึ่งขัน วางก้นขันด้วยพืชพรรณและใบไม้ ดอกไม้มงคล อย่างเช่น ดอกรัก ใบเงิน ใบทอง ใบหยก ใบนาก ใบแก้ว ข้าวเปลือก ถั่ว งา จากนั้นจึงนำสินสอดวางด้านบน และมีเคล็ดปฏิบัติสำหรับพานสินสอดก็ คือ ควรเพิ่มเงินให้มากกว่าสินสอด เพราะเป็นความเชื่อว่าเงินนั้นจะงอกเงยเป็นดอกผลให้แต่คู่บ่าวสาว สำหรับอีกขันจัดก้นขันเหมือนกันวางของหมั้นไว้ด้านบน
  • พานธูปเทียนแพ ใช้ธูปและเทียนแพเท่านั้น โดยวางก้นพาน จากนั้นจึงใช้กระธงกรวยใบตองบรรจุดอกไม้วางไว้บนธูปและเทียนแพอีกที
  • ขันวางผ้าไหว้ สำหรับ ไหว้พ่อแม่หรือผู้มีบุญคุณที่เลี้ยงดูฝ่ายหญิง ถ้าผู้รับผ้าไหว้เป็นผู้หญิง ของไหว้ในพานควรเป็นผ้าไหมส่วนของผู้ชายใช้ผ้าขนหนู หรือจะใช้เป็นผ้าขนหนูแบบเดียวกันทั้งผู้หญิงผู้ชายก็ได้
  • เครื่องขันหมาก ประกอบ ไปด้วยขนมมงคล 9 อย่าง คือ ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง เม็ดขนุน ทองเอก จ่ามงกฎ เสน่ห์จันทร์ ขนมชั้น ขนมถ้วยฟู และอาหารคาวอย่างหมูนอนตอง (หมูสามชั้นต้มสุกวางบนใบตอง) ไก่ต้ม ปลาช่อนนึ่งทั้งตัว รวมไปถึงบริวารขันหมากอื่นๆ เช่น ต้นกล้วย (มีหัวปลีติดมาด้วยจะดีมาก) ต้นอ้อย มะพร้าวอ่อน กล้วยน้ำว้าทั้งเครือ


ปรึกษา เรื่องแต่งงาน แบบไทยๆ

วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

ร้านเรือนนายไท



"เรือนนายไท" สถานที่จัดงานแต่งงาน ที่ผสมผสานระหว่างเรือนไทย สมัยโบราณกับเรือนไทยสมัย ใหม่เข้าด้วยกันโดยสถาปัตยกรรมและการตกแต่งจะจัดให้บริเวณชั้นบนเป็นแบบ เรือนไทยสมัยโบราณและชั้นล่างเป็นแบบเรือนไทยสมัยใหม่เป็นห้องปรับอากาศ บริเวณรอบบ้านถูกล้อมรอบด้วยพรรณไม้ นานาชนิด ให้บรรยากาศสบาย ๆ ผ่อนคลายกับแขกที่มาร่วมงาน



<<< คลิกเลย ไปดูบรรยากาศกัน

วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

:: One Stop of love finder::

:: One Stop of love finder::

พิธีหมั่น

สิ่งที่ต้องจัดเตรียมสำหรับพิธีสงฆ์

- โต๊ะหมู่บูชา
- ดอกไม้ปักแจกัน 2 ชุด
- ธูป 3 ดอก / เทียนสีเหลือง 2 เล่ม / เทียนต่อ 1 เล่ม
- อาสนสงฆ์
- อาหารใส่บาตร (ข้าว / ไข่ต้ม / ขนม)
- ขันข้าว ทัพพี
- ดอกไม้ ธูปเทียน ถวายพระ 9 ชุด
- ปัจจัยถวายพระ 9 ซอง
- อาหารสำหรับพระฉันท์ / อาหารสำหรับแขกร่วมงาน
- กระโถน / ทิชชู่ (สำหรับตั้งที่พระสงฆ์)
- พานใส่ของถวายพระ
- ที่กรวดน้ำ
- ขันใส่น้ำมนต์ / เทียนน้ำมนต์ สีขาว 1 เล่ม


ปรึกษา จัดหา สอบถาม สถานที่ พิธีการแต่งงานแบบไทย


การป้อนอาหารระหว่าง คู่บ่าว-สาว

การป้อนอาหารระหว่าง คู่บ่าว-สาว นิยมนำมาในพิธี คือ
ไข่ขวัญ คือ เอาไข่ไก่ที่ฝ่ายชายจัดมา ป้อนให้ฝ่ายหญิงกินและเอาไข่ที่ฝ่ายหญิงจัดมา
ป้อนให้ฝ่ายชายกินเหมือนกัน ในความหมายคือ เพื่อให้รับประทานอาหารร่วมกันตลอดไป
ไม่แอบหนีไปรับประทานอาหารนอกบ้านกับคนอื่น





เรือนนายไท แต่งงานแบบไทยๆ สถานที่จัดงานแต่งงาน

ขบวนขันหมาก

ในพิธีขบวนขันหมากจะต้องมีอาหารเป็นมงคล เป็นอาหารคาวหวานคุ่กันอยู่อย่างน้อย 3 คู่ ใส่เตรียมไว้ อาหารที่ต้องมี คือ หมากพลู ขนมจีบ ไก่ต้ม ขนมจีนน้ำยา สุรา และห่อหมก




เรือนนายไท แต่งงานแบบไทยๆ สถานที่จัดงานแต่งงาน

อาหารมงคลในงานแต่งงานแบบไทย

อาหารที่นำมาบริการแขกที่มาถึงงานใหม่ ๆ
- ข้าวเหนียวกะทิ มีความหมายว่า คู่บ่าว-สาว รักกันเหนียวแน่นเหมือนข้าวเหนียว
- ข้าวตอกน้ำกะทิ มีความหมายว่า คู่บ่าว-สาว มีความรักที่เบ่งบานเหมือนข้าวตอก
- ลอดช่องน้ำกระทิ มีความหมายว่า คุ่บ่าว- สาว รักกันยืนยาว ประสบความสำเร็จในชีวิตคู่ ส่วนน้ำกะทินั้น มีความหมายว่า รักกันหวานชื่นเหมือนน้ำกะทิ




เรือนนายไท แต่งงานแบบไทยๆ สถานที่จัดงานแต่งงาน

ลำดับพิธีการแต่งงานแบบไทยๆ

1. พิธีหมั้น 4. พิธีไหว้ผู้ใหญ่
2. พิธีสงฆ์ 5. พิธีหลั่งน้ำพุทธมนต์
3. พิธีขันหมาก 6. พิธีปูเตียงเรียงหมอน



เรือนนายไท แต่งงานแบบไทยๆ สถานที่จัดงานแต่งงาน